HANDOUTS

วิจัย (SCIENCE RESEARCH)

บทความ (ARTICLES)

Teaching examples (ตัวอย่างการสอน)

นิทานวิทยาศาสตร์ (SCIENCE TALES)

โทรทัศน์ครู (THAITEACHERS TV)

วันเสาร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2562

Learning Record 10
16 October2019


The Knowledge gained
          วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอการทดลองครั้งใหม่ก่อนที่จะนำออกไปสอนเด็กๆที่มูลนิธิซอยเสือใหญ่ โดยให้ออกไปแล้วฝึกการพูดกับเด็ก การนำความรู้ที่จำนำไปถ่ายทอดให้เด็กๆต่อไป อาจารย์จะคอยให้คำแนะนำอยู่เรื่อยๆ จนครบทุกกลุ่ม

1.ภูเขาไฟลาวา
2.ทราย ดิน น้ำมัน
3.การแยกเกลือกับพริกไทย
4.ลูกโป่งพองโต
5.ลูกข่างหลากสี

6.การมองเห็นสีเขียวและสีแดง






กิจกรรมที่ 1
           
           อาจารย์ได้แจกกระดาษคู่ละ 1 แผ่น ให้พับครึ่งเป็นแนวนอนแล้วตัดแบ่งครึ่งกับเพื่อน ต่อไปให้พับเข้าหากันเหลือไว้ประมาณ 1 นิ้ว ตามรูปต่อไปนี้



ต่อไปให้วาดรูปที่เราชอบ ให้วาดด้านและด้านนอกให้มีความสัมพันธ์กัน


ตกแต่งระบายสีเพิ่มเติมให้สวยงาม



กิจกรรมที่ 2
         อาจารย์ได้แจกกระดาษ A4 คนละ 1 แผ่น พับครึ่งแล้วตัดออกมาเป็นสองส่วน



และพับครึ่งตัดเป็นส่วนๆหนึ่งส่วนตามภาพเพื่อวาดรูปทั้งสองด้านให้มีความสัมพันธ์กัน




ส่วนกระดาษอีกส่วนนึงนำมาทำเป็นก้าน



กิจกรรมที่ 3
แจกกระดาษคู่ละ 1 แผ่น พับและตัดแบ่งกันคนละครึ่ง ให้ทำของเล่นที่ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์ได้ คนละ 1 ชิ้น และออกมานำเสนอ



คำศัพท์
1.       Relativity                        ความสัมพันธ์
2.       learning Media               สื่อการเรียนรู้
3.       Wind                               ลม
4.       Intenseness                      ความหนาแน่น
5.       Dislocation                     การเคลื่อนที่


ประเมินตนเอง : ได้เทคนิคจาการทำสื่อสามารถไปใช้ได้จริง
ประเมินเพื่อน : เพื่อนตั้งใจทำของตัวเองและช่วยเหลือกัน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์คอยอำนวยความสะดวกเป็นอย่างดี ให้คำแนะนำ

Learning Record 9
2 October2019


The Knowledge gained
         
           วันนี้อาจารย์ให้ได้ไปนั่งฟังสัมมนาหลังการออกฝึกสอนของพี่พี่ปี 5 ที่ไปออกฝึกสอนมามีทุกคบ.ที่ไปนำเสนอกันในวันนี้ ดิฉันได้ฟังของสาขาตัวเองรูสึกเป็นประโยชนเป็นอย่างมาก ได้เห็นนำเสนองานของตัวเองรูปแบบในการสอนเด็กต่างๆ การสอนแบบโปรเจกต์ เรื่อง เรือทั้งการออกแบบรูปแบบการสอน การเขียนแผนการสอน วิธีการสอน ปัญหาของเด็กในการสอน การประเมินการวัดผล การทำวิจัยต่างๆ ทำให้เราได้นำไปใช้ระโยชน์ได้มากมาย เพราะอีกไม่นานเราก็จะยืนอยู่ตรงนั้น หลังจากที่ได้ฟังการสัมมนาจบ ดิฉันได้ลงไปที่พี่จัดเพื่อนำความรู้มาให้สำหรับผู้ที่เข้ามาดู ได้ซักถามถึงข้อมูลที่สงสัย ได้เห็นสื่อที่นำไปใช้ในการสอนที่หลากหลาย







 Project Approach คือ...
เป็นการเรียนที่มุ่งเน้นให้เด็กมีส่วนร่วมและกระตุ้นให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง พร้อมเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้ในสิ่งที่เด็กสนใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเด็ก และตอบสนองตามความต้องการที่หลากหลายของเด็ก ๆ

Project Approach ผ่านการระดมความคิด (Brainstorm) โดยมีหัวข้อใหญ่เป็นแกนกลาง แล้วกระจายความคิดออกไปเรื่อย ๆ ซึ่งช่วยให้เด็กคิดและตอบในเรื่องที่ตัวเองสนใจ และเรียนรู้ในสิ่งที่เด็กอยากเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว สำหรับเด็กปฐมวัยนั้น จะเต็มไปด้วยความอยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาติ โดยที่คุณครูและผู้ปกครองสามารถส่งเสริมให้เด็ก ๆ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบโครงการ

วิธีการสอนแบบ Project Approach
เป็นวิธีการสอนให้เด็กเลือกเรื่อง หรือหัวข้อของโครงการตามความสนใจของเด็ก ๆ โดยเฉพาะ คุณครูสามารถกำหนดขอบเขตตามพัฒนาการของเด็ก ๆ ผ่านกระบวนการ 3 ระยะ ตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นโครงการ ขั้นพัฒนาโครงการ จนถึงการสรุปโครงการ ซึ่งจะช่วยให้คุณครูสามารถจัดระเบียบ ดูความก้าวหน้าของกิจกรรมตามการพัฒนาความสนใจของเด็ก และการมีส่วนร่วมกับหัวข้อการเรียนรู้นั้น ๆ

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
       จากการศึกษาดูงานครั้งนี้ ทำให้เราเห็นเทคนิคต่างๆในการสอน เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันไปสามารถนำการสอนแบบนี้ไปใช้ในได้

คำศัพท์
1.       Boat                              เรือ
2.       Project                              โปรเจกต์
3.       Applied                         ประยุกต์
4.       Brainstorm                    ระดมความคิด
5.       Environment                  สิ่งแวดล้อม

ประเมินตนเอง : ประทับใจในการดูงานครั้งนี้ ได้รับความรู้มากมาย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆกล้าแสดงออกที่จะซักถามข้อมูลที่สงสัย จดบันทึกสิ่งที่ได้รับ
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์คอยอำนวยความสะดวกเป็นอย่างดี

วันอาทิตย์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2562

Learning Record 8
18 September 2019

The Knowledge gained

สัปดาห์นี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ การทดลองจากการทดลองลองของ
บ้านนักวิทยาศาสตร์ เพื่อจะนำการทดลองนี้ไปสอนเด็กในครั้งต่อไป

การทดลองของกลุ่มดิฉันคือ สนุกกับฟองสบู่


กลุ่มที่ 1



กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3


กลุ่มที่ 4


กลุ่มที่ 5


กลุ่มที่ 6


ประเมินตนเอง : ได้เทคนิคในการสอนเด็กได้รับความรู้มากมาย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนตั้งใจเพื่อนทำการทดลอง และมีส่วนร่วมในการทดลอง
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์คอยอำนวยความสะดวกเป็นอย่างดี ให้คำแนะนำ

Learning Record 7

11 September 2019


The Knowledge gained

กิจกรรมที่ 1
            อาจารย์ได้ทบทวนความรู้จากสัปดาห์ที่แล้วในเรื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์  และวันนี้เราเรียนกันเรื่อง น้ำ อาจารย์ให้นักศึกษาแยกตามกลุ่ม แล้วแจกกระดาษกลุ่มละ 1 แผ่น เพื่อให้แต่ละกลุ่มวาดรูป แหล่งน้ำที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย ให้เวลา 30 นาที แล้วให้แต่ละกลุ่มนำออกไปให้เพื่อนทายว่าแหล่งน้ำภาพนี้เป็นภาพแหล่งน้ำที่ไหน

กลุ่มที่ 1  เขื่อนเชี่ยวหลาน



กลุ่มที่ 2   แม่น้ำเจ้าพระยา


กลุ่มที่ 3  ะเลแหวก


กลุ่มที่ 4  ขื่อน


กลุ่มที่ 5  นำ้ตกเจ็ดสาวน้อย


อาจารย์ได้ให้นักศึกษาช่วยกันดูว่าแหล่งน้ำที่มีชื่อเสียงของแต่ละกลุ่มคือที่ไหน และมีชื่อว่าอะไรกันบ้าง ให้ทุกคนใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ เช่นการสังเกตและอื่นๆ หรือว่ามีจุดเด่นอะไรทำไมถึงทายกันว่าเป็นแหล่งน้ำแห่งนั้นๆ

กิจกรรมที่ 2

อาจารย์ให้แจกกระดาษหนังสือพิมพ์คนละ 10 แผ่น และมีเพิ่มเติม. คือ 2 แผ่น ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสร้าง แท็งน้ำ ให้มีขนาดความสูง 25 นิ้ว หรืออาจจะสูงกว่านั้นก็ได้ สามารถจะทำออกมาในรูปแบบไหนก็ได้ โดยจะต้องมีความแข็งแรงที่นำพานวางไว้ด้านบน เวลา 10 วินาที โดยไม่ล้ม และวาดโครงสร้างของเราลงบนกระดาษ 

Ex  ของกลุ่มดิฉัน








บรรยากาศในห้องเรียน


คำศัพท์
1.       Science                                               วิทยาศาสตร์
2.       Observing                                           การสังเกต
3.       Participation                                       การมีส่วนร่วม
4.       Situation                                             สถานที่
5.       Height                                                ความสูง


ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน อธิบาย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและชี้แนะ
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์สอนได้เข้าใจ ตรงตามสิ่งที่ต้องเรียน